หน้าแรก    |    ประวัติความเป็นมา    |    อัลบั๊มภาพ    |    หลักสูตรธรรมศึกษา    |    ภาพกิจกรรม    |    ตารางปฎิบัติธรรม    |    ข้อมูลติดต่อ
 



ขอบข่ายสาระการเรียนรู้วิชาพระพุทธศาสนา (ธ.ศ.โท)
ศูนย์พระสงฆ์นักเผยแผ่ธรรมเพื่อพัฒนาสังคม


ครั้งที่ สาระการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ
- แนะนำตัว
- แนะนำสาระการเรียนรู้
- เรื่องพระพุทธศาสนา
- สร้างศรัทธา
- การทำความคุ้นเคยระหว่างพระวิทยากรกับนักเรียนนักศึกษา
- สถาบันชาติ พุทธสาสนา พระมหากษัตริย์เป็นสถาบันหลักของไทย
- รตนะ ๓ (พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์)
- โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่าง
- หลักการที่ส่งผลให้สังคมไทยน่าอยู่ ( ทาน ศีล ภาวนา)
- ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในสังคมไทย
- การพัฒนาจิตใจ - กัมมัฏฐาน ๒ , บูชา ๒,
- ปฏิสันถาร ๒
- สุข ๒,
- อัปปมัญญา ๔, มาร ๕
- ผลแห่งการพัมนาจิตใจ - มรรค ๔,
- ผล ๔
- พระอริยบุคคล ๔
- สาเหตุที่ทำให้จิตเร่าร้อนมีผลเป็นทุกข์ - กาม ๒, - อกุศลวิตก ๓, - อัคคิ(ไฟ) ๓,- ตัณหา ๓ ,
- วัฏฏะ ๓, - อบาย ๔,- โอฆะ ๔, - มัจฉริยะ ๕,
- เวทนา ๕, - จริต ๖
- ขั้นตอนการพัฒนาจิตเพื่อให้เกิดสันติสุขภายในอย่างยั่งยืน - กุสลวิตก ๓,
- อธิปเตยยะ ๓
- ญาณ ๓ (สัจจญาณ กิจจญาณ กตญาณ)
- กิจในอริยสัจ ๔, - ปาฏิหาริยะ ๓, - ปิฎก ๓
- พุทธจริยา ๓, - สิกขา ๓,- อปัสเสนธรรม ๔
- สิ่งที่ควรรู้ควรเห็น - บริษัท ๔,- บุคคล ๔
- อนุปุพพีกถา ๕, - ธรรมคุณ ๖
- วิสุทธิ ๗, - อวิชชา ๘
- พระพุทธคุณ ๙, - สังฆคุณ ๙
- การสร้างบารมี
- กฎแห่งกรรมในพระพุทธศาสนา
- บารมี ๑๐ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปัญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิฏฐาน เมตตา อุเบกขา
- กรรม ๑๒ (หมวดที่ ๑ กรรมให้ผลตามคราว ๔, หมวดที่ ๒ กรรมให้ผลตามกิจ ๔, หมวดที่ ๓ กรรมให้ผลตามลำดับ ๔)
- ประวัติพระมหาสาวก ๑

พระอัญญาโกณฑัญญเถระ,พระอุรุเวลกัสสปเถระ,
พระสารีบุตร,พระโมคคัลลานเถระ,พระมหากัสสปเถระ
พระมหากัจจายนเถระ,พระโมฆราชเถระ,พระราธเถระ
พระปุณณมันตานีบุตรเถระ, พระกาฬุทายีเถระ
พระนันทเถระ, พระราหุลเถระ, พระอุบาลีเถระ
พระภัททิยเถระ, พระอนุรุทธะเถระ, พระอานนทเถระ
พระโสณโกฬิวิสเถระ,พระรัฐบาลเถระ

พระปิณโฑลภารทวาชเถระ, พระมหาปันถกเถระ
- ประวัติพระมหาสาวก ๒

พระจูฬปันถกเถระ, พระโสณกุฏิกัณณเถระ,
พระลกุณฎกภัททิยะ, พระสุภูติเถระ, พระกังขาเรวตเถระ,
พระโกณฑธานเถระ, พระวังคีสเถระ, พระปิลินทวัจฉเถระ,
พระกุมารกัสสปเถระ, พระมหาโกฏฐิตเถระ, พระโสภิตเถระ,
พระนันทกเถระ,พระมหากัปปินเถระ, พระสาคตเถระ,
พระอุปเสนเถระ, พระขทิรวนิยเรวตเถระ, พระสีวลีเถระ,
พระวักกลิเถระ, พระพาหิยทารุจีริยเถระ, พระพากุลเถระ

๑๐ - พระรัตนตรัย





- อุโบสถศีล
- พระรัตนตรัย คือพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์
- วิธีถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ ๕ วิธี
- สรณคมน์เศร้าหมอง
- พระรัตนตรัยแยกกันไม่ได้
- ผู้เข้าไปหาพระรัตนตรัยด้วยอกุศลจิตย่อมเกิดโทษ
- พระรัตนตรัยเป็นสรณะที่ปลอดภัย
- อุโบสถ ๒ อย่าง
- อุโบสถศีล ๓ ประการ
- การรักษาอุโบสถเพื่อข่มกิเลส
- อุโบสถศีลมี ๘ สิกขาบท
๑๑ - องค์แห่งอุโบสถศีล - สิกขาบทข้อที่หนึ่งมีองค์ ๕
- สิกขาบทข้อที่สองมีองค์ ๕
- สิกขาบทข้อที่สามมีองค์ ๔
- สิกขาบทข้อที่สี่มีองค์ ๔
- สิกขาบทข้อที่ห้ามีองค์ ๔
- สิกขาบทข้อที่หกมีองค์ ๔
- สิกขาบทข้อที่เจ็ดมีองค์ ๓
- สิกขาบทข้อที่แปดมีองค์ ๓
- อุโบสถ ๓ อย่าง คือ โคปาลกอุโบสถ นิคคัณฐอุโบสถและอริยอุโบสถ
- อานิสงส์ของอุโบสถศีล
๑๒ - การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม - วิธีการเขียน
- รูปแบบการเขียน
- ประโยชน์การเขียน
- พุทธศาสนสุภาษิต

 






 

 
 
 
 
สงวนลิขสิทธิ์ 2552 ติดต่อผู้ดูแลเวบไซด์